"ช่องว่าง" ของ รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

สัญลักษณ์ชื่อคำอธิบายตัวอย่าง
คำอ่าน
หมวดหมู่
(     ) {\displaystyle {\ \choose \ }} การจัด, ค่าสัมประสิทธิ์สองค่า ( n k ) = n ! / ( n − k ) ! k ! = ( n − k + 1 ) ⋯ ( n − 2 ) ⋅ ( n − 1 ) ⋅ n k ! {\displaystyle {\binom {n}{k}}={\frac {n!/(n-k)!}{k!}}={\frac {(n-k+1)\cdots (n-2)\cdot (n-1)\cdot n}{k!}}} หมายความว่า (ให้ n เป็นจำนวนเต็มบวก) เป็นการจัดของสมาชิกใน k อิงจากเซต a ซึ่งมีสมาชิกเป็น n

(หรือจะเขียนในรูป C(n, k), C(n; k), nCk, nCk หรือ ⟨ n k ⟩ {\displaystyle \left\langle {\begin{matrix}n\\k\end{matrix}}\right\rangle } )

( 36 5 ) = 36 ! / ( 36 − 5 ) ! 5 ! = 32 ⋅ 33 ⋅ 34 ⋅ 35 ⋅ 36 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 5 = 376 , 992 {\displaystyle {\binom {36}{5}}={\frac {36!/(36-5)!}{5!}}={\frac {32\cdot 33\cdot 34\cdot 35\cdot 36}{1\cdot 2\cdot 3\cdot 4\cdot 5}}=376,992} ( .5 7 ) = − 5.5 ⋅ − 4.5 ⋅ − 3.5 ⋅ − 2.5 ⋅ − 1.5 ⋅ − .5 ⋅ .5 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ 7 = 33 2 , 048 {\displaystyle {\binom {.5}{7}}={\frac {-5.5\cdot -4.5\cdot -3.5\cdot -2.5\cdot -1.5\cdot -.5\cdot .5}{1\cdot 2\cdot 3\cdot 4\cdot 5\cdot 6\cdot 7}}={\frac {33}{2,048}}}
n เลือก k
คณิตศาสตร์เชิงการจัด
( (     ) ) {\displaystyle \left(\!\!{\ \choose \ }\!\!\right)} ค่าสัมประสิทธิ์หลายค่า ( ( u k   ) ) = ( u + k − 1   k ) = ( u + k − 1 ) ! / ( u − 1 ) ! k ! {\displaystyle \left(\!\!{u \choose k\ }\!\!\right)={u+k-1 \choose \ k}={\frac {(u+k-1)!/(u-1)!}{k!}}}

(เมื่อ u เป็นจำนวนเต็มบวก)

หมายความว่า การเพิ่มขึ้นหรือลดลงของค่าสัมประสิทธิ์สองค่า

( ( − 5.5 7   ) ) = ( .5 7 ) = − 5.5 ⋅ − 4.5 ⋅ − 3.5 ⋅ − 2.5 ⋅ − 1.5 ⋅ − .5 ⋅ .5 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ⋅ 4 ⋅ 5 ⋅ 6 ⋅ 7 = 33 2 , 048 {\displaystyle \left(\!\!{-5.5 \choose 7\ }\!\!\right)={\binom {.5}{7}}={\frac {-5.5\cdot -4.5\cdot -3.5\cdot -2.5\cdot -1.5\cdot -.5\cdot .5}{1\cdot 2\cdot 3\cdot 4\cdot 5\cdot 6\cdot 7}}={\frac {33}{2,048}}}
u เลือกหลายค่า k
คณิตศาสตร์เชิงการจัด
| … | {\displaystyle |\ldots |\!\,} ค่าสัมบูรณ์, มอดุลัส|x| หมายความว่าระยะบนเส้นจำนวน (หรือตัดกับสังยุค) ระหว่าง x และ 0|3| = 3

|–5| = |5| = 5

| i | = 1

| 3 + 4i | = 5

สัมบูรณ์กับ
จำนวน
ค่าประจำแบบยุคลิด|x| หมายถึงความยาว(แบบยุคลิด) ของเวกเตอร์ xถ้า x = (3,-4) แล้ว

| x | = 3 2 + ( − 4 ) 2 = 5 {\displaystyle |x|={\sqrt {3^{2}+(-4)^{2}}}=5}

ค่าประจำแบบยุคลิดของ...
เราขาคณิต
ดีเทอร์มิแนนต์|A| หมายถึงดีเทอร์มิแนนต์ของเมทริกซ์ A | 1 2 2 9 | = 5 {\displaystyle {\begin{vmatrix}1&2\\2&9\end{vmatrix}}=5}
ดีเทอร์มิแนนต์ของ
เมทริกซ์
ภาวะเชิงการนับ|x| หมายถึงภาวะเชิงการนับของ x

(หรืออาจใช้ # แทน)

|{3, 5, 7, 9}| = 4
ภาวะเชิงการนับของ, ขนาดของ, ชุดของ
เซต
‖ … ‖ {\displaystyle \|\ldots \|\!\,} ค่าประจำ‖ x ‖ หมายถึงค่าประจำของสมาชิกใน x ของค่าประจำปริภูมิเวกเตอร์‖ x + y ‖ ≤ ‖ x ‖ + ‖ y ‖
ค่าประจำของ, ความยาวของ
พีชคณิตเชิงเส้น
ฟังก์ชันจำนวนเต็มใกล้สุด‖ x ‖ หมายถึงจำนวนเต็มใกล้สุดกับ x

(หรือเขียนในรูป [x], ⌊x⌉, nint(x) หรือ Round(x)

‖1‖ = 1, ‖1.6‖ = 2, ‖−2.4‖ = −2, ‖3.49‖ = 3
ใกล้เคียงกับจำนวนเต็ม...
นวนตัวเลข
{   ,   } {\displaystyle {\{\ ,\!\ \}}\!\,} โครงเซต{a, b, c} หมายความว่า สมาชิกของเซตประกอบด้วย a, b และ c = { 1, 2, 3, ... }
เป็นเซตของ...
เซต
{   :   } {\displaystyle \{\ :\ \}\!\,}

{   |   } {\displaystyle \{\ |\ \}\!\,}

{   ;   } {\displaystyle \{\ ;\ \}\!\,}

เงื่อนไขของสมาชิกในเซต{x : P(x)} สมาชิกของ x คือ P(x) หรือใช้ {x | P(x)} {n ∈  : n2 < 20} = { 1, 2, 3, 4 }
เป็นสมาชิกของ...โดยที่...
เซต
⌊ … ⌋ {\displaystyle \lfloor \ldots \rfloor \!\,} พื้น⌊x⌋ หมายความว่าพื้นของ x หรืออีกอย่าง เป็นจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x

(หรือเขียนในรูป [x], floor(x) หรือ int(x))

⌊4⌋ = 4, ⌊2.1⌋ = 2, ⌊2.9⌋ = 2, ⌊−2.6⌋ = −3
พื้น, จำนวนเต็มที่มากที่สุด
จำนวน
⌈ … ⌉ {\displaystyle \lceil \ldots \rceil \!\,} เพดาน⌈x⌉ คือเพดานของ x หรืออีกอย่าง เป็นจำนวนเต็มที่น้อยที่สุดที่มากกว่าหรือเท่ากับ x

(หรือเขียนในรูปของ ceil(x) หรือ ceiling(x))

⌈4⌉ = 4, ⌈2.1⌉ = 3, ⌈2.9⌉ = 3, ⌈−2.6⌉ = −2
เพดาน
จำนวน
[   :   ] {\displaystyle [\ :\ ]\!\,} รัศมีของฟีลดิ์[K : F] หมายถึงรัศมีของฟีลดิ์ของ K : F[(√2) : ] = 2

[ : ] = 2

[ : ] = ∞

เป็นรัศมีของฟีลดิ์ของ
ฟีลดิ์
[   ] {\displaystyle [\ ]\!\,}

[   ,   ] {\displaystyle [\ ,\ ]\!\,}

[ , , ] {\displaystyle [,,]}

ชั้นความเท่ากัน[a] ([a]R) หมายถึงชั้นความเท่ากันของ a เมื่อ {x : x ~ a} ที่ซึ่ง ~ เป็นความสัมพันธ์เชิงสัมพัทธ์ให้ a ~ b เป็นจริง ก็ต่อเมื่อ a ≡ b (มอดุลัส 5)

แล้ว [2] = {..., −8, −3, 2, 7, ...}

เป็นชั้นความเท่ากันของ
พีชคณิตเชิงนามธรรม
พื้น[x] หมายความว่าพื้นของ x หรืออีกอย่าง เป็นจำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ x

(หรือเขียนในรูป ⌊x⌋, floor(x) หรือ int(x) ดังกล่าวไว้ข้างต้น)

[3] = 3, [3.5] = 3, [3.99] = 3, [−3.7] = −4
พื้น, จำนวนเต็มที่มากที่สุด
จำนวน
ฟังก์ชันจำนวนเต็มใกล้สุด[x] หมายถึงจำนวนเต็มใกล้สุดกับ x(หรือเขียนในรูปx, ⌊x⌉, nint(x) หรือ Round(x) เอ้อ แล้วอย่าสับสนกับ "พื้น" ซะล่ะ อธิบายไปแล้วนะ)[2] = 2, [2.6] = 3, [−3.4] = −3, [4.49] = 4
ใกล้เคียงกับจำนวนเต็ม...
จำนวน
ช่องว่างอิเวอสันถ้าประพจน์ [S] S ความจริงเป็น 1 ดังนั้น S เท็จจะเป็น 0[0=5]=0, [7>0]=1, [2 ∈ {2,3,4}]=1, [5 ∈ {2,3,4}]=0
1 เป็นจริง 0 เป็น 1'
ตรรกศาสตร์
อิมเมจ(ซับเซตของฟังก์ชันโคโดเมน)f[X] หมายถึง { f(x) : x ∈ X } อิมเมจของฟังก์ชัน f ในเซต X ⊆ โดมิแนนท์(f) sin ⁡ [ R ] = [ 1 , − 1 ] {\displaystyle \sin[\mathbb {R} ]=[1,-1]}
เป็นอิมเมจของ...ใต้...
ใช้ในทุกหมวดหมู่
ช่วงปิด [ a , b ] = { x ∈ R : a ≤ x ≤ b } {\displaystyle [a,b]=\{x\in \mathbb {R} :a\leq x\leq b\}} 0 และ 1/2 ต่างก็อยู่ในช่วง [0,1]
ช่วงปิด
การจัดลำดับ
ตัวสับเปลี่ยน[g, h] = g−1h−1gh (หรือ ghg−1h−1), if g, h ∈ G (กรุป)

[a, b] = ab − ba, if a, b ∈ R (ริง, พีชคณิตเชิงสับเปลี่ยน)

xy = x[x, y] (ทฤษฎีกรุป)

[AB, C] = A[B, C] + [A, C]B (ทฤษฎีริง)

ตัวสับเปลี่ยนของ
ทฤษฎีกรุป,

ทฤษฎีริง

ผลคูณเชิงสเกลาร์สามชั้น[a, b, c] = a × b · c ผลคูณของ a × b กับ c[a, b, c] = [b, c, a] = [c, a, b]
ผลคูณเชิงสเกลาร์สามชั้นของ
แคลคูลัสเวกเตอร์
(   ) {\displaystyle (\ )\!\,}

(   ,   ) {\displaystyle (\ ,\ )\!\,}

ฟังก์ชันประยุกต์f(x) หมายถึง ค่าของฟังก์ชัน f ณ สมาชิกของ xถ้า f(x) := x2 − 5 แล้ว f(6) = 62 − 5 = 36 − 5=31
ของ
เซต
อิมเมจ(ซับเซตของฟังก์ชันโคโดเมน)f(X) หมายถึง { f(x) : x ∈ X } อิมเมจของฟังก์ชัน f ในเซต X ⊆ โดมิแนนท์(f)

(ถ้ากลัวจะสับสนกับเรื่องฟังก์ชันประยุกต์ก็เขียน f[x] ไปเหอะ)

sin ⁡ ( R ) = [ 1 , − 1 ] {\displaystyle \sin(\mathbb {R} )=[1,-1]}
เป็นอิมเมจของ...ใต้...
ใช้ในทุกหมวดหมู่
ลำดับการดำเนินการดำเนินการจากสมการในวงเล็บก่อน(8/4)/2 = 2/2 = 1 แต่ 8/(4/2) = 8/2 = 4.
วงเล็บ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
หลายสิ่งอันดับมูลค่าตามการจัดเรียง (หรือตามลำดับ, เวกเตอร์แนวราบ, เวกเตอร์แนวตั้ง)

(แต่จงจำไว้ว่าการใช้ (a, b) นั้นคลุมเครือมาก เพราะอาจกลายเป็นระยะเปิด หรือคู่อันดับไปได้ ดังนั้น นักทฤษฎีหรือนักวิทยาการคอมพิวเตอร์ มักจะใช้วงเล็บเส้นหัก (⟨ ⟩) แทน)

(a, b) เป็นคู่อันดับ (หรือ 2-สิ่งอันดับ)

(a, b, c) เป็นไตรอันดับ (หรือ 3-สิ่งอันดับ)

( ) เป็นอันดับว่าง (หรือ 0-สิ่งอันดับ)

หลายสิ่งอันดับ, n สิ่งอันดับ, คู่/ไตร, ฯลฯ, เวกเตอร์แนวตั้ง, ลำดับ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.)(a, b) คือตัวหารร่วมมากของ a และ b

(ใครขี้เกียจเขียนก็ ห.ร.ม.(a, b) เถอะนะ)

(3, 7) = 1 (จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์)

(15, 25) = 5

ตัวหารร่วมมาก/ห.ร.ม. ของ...คือ...
ทฤษฎีจำนวน
(   ,   ) {\displaystyle (\ ,\ )\!\,}

]   ,   [ {\displaystyle ]\ ,\ [\!\,}

ช่วงเปิด ( a , b ) = { x ∈ R : a < x < b } {\displaystyle (a,b)=\{x\in \mathbb {R} :a<x<b\}}

(ก็...จะบอกเหมือนเดิมน่ะนะ คือไอ้ (a, b) เนี่ย มันคลุมเครือ เพราะอาจกลายเป็นระยะเปิด หรือคู่อันดับไปได้ ก็ใช้ ] , [ เพื่อความชัดเจนซะนะ)

4 ไม่อยู่ในช่วง (4, 18)

(0, +∞) เท่ากับเซตที่เป็นจำนวนจริงบวก

ช่วงเปิด
การจัดลำดับ
(   ,   ] {\displaystyle (\ ,\ ]\!\,}

]   ,   ] {\displaystyle ]\ ,\ ]\!\,}

ช่วงเปิดซ้าย ( a , b ] = { x ∈ R : a < x ≤ b } {\displaystyle (a,b]=\{x\in \mathbb {R} :a<x\leq b\}} (−1, 7] และ (−∞, −1]
เปิดครึ่งช่วง,

เปิดช่วงซ้าย

การจัดลำดับ
[   ,   ) {\displaystyle [\ ,\ )\!\,}

[   ,   [ {\displaystyle [\ ,\ [\!\,}

ช่วงเปิดขวา [ a , b ) = { x ∈ R : a ≤ x < b } {\displaystyle [a,b)=\{x\in \mathbb {R} :a\leq x<b\}} [4, 18) และ [1, +∞)
เปิดครึ่งช่วง,

เปิดช่วงขวา

การจัดลำดับ
⟨   ⟩ {\displaystyle \langle \ \rangle \!\,}

⟨   ,   ⟩ {\displaystyle \langle \ ,\ \rangle \!\,}

สมาชิกภายใน⟨u,v⟩ หมายถึงสมาชิกภายในของ u และ v ที่ซึ่ง v และ u ต่างก็เป็นสมาชิกของพื้นที่สมาชิกภายใน

(จงจำไว้ว่า ⟨u,v⟩ ก็คลุมเครือนะ ก็มันหมายความได้สองอย่าง คือ สมาชิกภายในกับเส้นสแปน)

(มีเอกสารหลายชิ้นที่ยังใช้ ⟨u | v⟩ และ (u | v) ตามที่อธิบายไว้ สำหรับเวกเตอร์ช่องว่าง ก็อาจจะใช้จุด · แล้ว ⟨ กับ ⟩ บางทีมันพิมพ์ยาก เพื่อให้ง่ายต่อการพิมพ์บนคีย์บอร์ด เขาก็จะใช้ < กับ > กัน ก็เป็นการหลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทางหนึ่ง)

ผลคูณจุดมาตรฐานที่อยู่ระหว่าง x = (2, 3) และ y = (-1, 5) คือ

⟨x, y⟩ = 2 × −1 + 3 × 5 = 13

สมาชิกภายในของ
พีชคณิตเชิงเส้น
ค่าเฉลี่ยให้ S เป็นซับเซตของ N แล้ว ⟨S⟩ แสดงถึงค่าเฉลี่ยของสมาชิกทุกตัวใน Sเมื่อชุดของเวลาเป็น g(t) (t = 1, 2,...)

จะสามารถกำหนดโครงสร้างฟังก์ชันได้ S q ( τ ) {\displaystyle S_{q}(\tau )}  :

S q = ⟨ | g ( t + τ ) − g ( t ) | q ⟩ t {\displaystyle S_{q}=\langle |g(t+\tau )-g(t)|^{q}\rangle t}

เฉลี่ยได้
สถิติ
ค่าความคาดหวังค่าความไม่ต่อเนื่องของ x ของฟังก์ชัน f(x) ค่าความคาดหวังของ f(x) จะเป็น ⟨ f ( x ) ⟩ = ∑ x f ( x ) P ( x ) {\displaystyle \langle f(x)\rangle =\sum _{x}f(x)P(x)} และค่าความคาดหวังต่อเนื่องของ f(x) คือ ⟨ f ( x ) ⟩ = ∫ x f ( x ) P ( x ) {\displaystyle \langle f(x)\rangle =\int _{x}f(x)P(x)} ที่ซึ่ง P(x) คือ PDF (Probability Density Function) ของ x
ค่าความคาดหวังของ
ความน่าจะเป็น
เส้นสแปน⟨S⟩ คือสแปนของ S ⊆ V. ที่อินเตอร์เซคชันกับพื้นที่ของ V ทั้งหมดที่ประกอบด้วย S

⟨u1, u2, ...⟩ เป็นรูปย่อของ ⟨{u1, u2, ...}⟩

⟨ ( 1 0 0 ) , ( 0 1 0 ) , ( 0 0 1 ) ⟩ = R 3 {\displaystyle \left\langle \left({\begin{smallmatrix}1\\0\\0\end{smallmatrix}}\right),\left({\begin{smallmatrix}0\\1\\0\end{smallmatrix}}\right),\left({\begin{smallmatrix}0\\0\\1\end{smallmatrix}}\right)\right\rangle =\mathbb {R} ^{3}}
(เส้น)สแปนของ
พีชคณิตเชิงเส้น
การสร้างเซตของกรุป⟨S⟩ หมายถึงซับกรุปที่เล็กที่สุดของ G (ที่ซึ่ง S ⊆ G เป็นกรุป) โดยสมาชิกทุกตัวเป็นของ S เช่นกัน

⟨g1, g2, ...⟩ เป็นรูปย่อของ ⟨{g1, g2, ...}⟩

ใน S3 มี ⟨(1 2)⟩ = {id, (1 2)} และ ⟨(1 2 3)⟩ = {id, (1 2 3), (1 3 2)}
ซับกรุปที่สร้างขึ้นโดย
ทฤษฎีกรุป
หลายสิ่งอันดับมูลค่าตามการจัดเรียง (หรือตามลำดับ, เวกเตอร์แนวราบ, เวกเตอร์แนวตั้ง)⟨a, b⟩ เป็นคู่อันดับ (หรือ 2-สิ่งอันดับ)

⟨a, b, c⟩ เป็นไตรอันดับ (หรือ 3-สิ่งอันดับ)

⟨ ⟩ เป็นอันดับว่าง (หรือ 0-สิ่งอันดับ)

หลายสิ่งอันดับ, n สิ่งอันดับ, คู่/ไตร, ฯลฯ, เวกเตอร์แนวตั้ง, ลำดับ
ใช้ในทุกหมวดหมู่
⟨   |   ⟩ {\displaystyle \langle \ |\ \rangle \!\,}

(   |   ) {\displaystyle (\ |\ )\!\,}

สมาชิกภายใน⟨u | v⟩ หมายถึงสมาชิกภายในของ u และ v ที่ซึ่ง v และ u ต่างก็เป็นสมาชิกของพื้นที่สมาชิกภายใน

(จงจำไว้ว่า ⟨u,v⟩ ก็คลุมเครือนะ ก็มันหมายความได้สองอย่าง คือ สมาชิกภายในกับเส้นสแปน)

(บางที่มันก็ใช้ ⟨u , v⟩ และ (u , v) ตามที่อธิบายไว้ สำหรับเวกเตอร์ช่องว่าง ก็อาจจะใช้จุด · แล้ว ⟨ กับ ⟩ บางทีมันพิมพ์ยาก เพื่อให้ง่ายต่อการพิมพ์บนคีย์บอร์ด เขาก็จะใช้ < กับ > กัน ก็เป็นการหลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทางหนึ่ง)

สมาชิกภายในของ
พีชคณิตเชิงเส้น

ใกล้เคียง

รายการรหัสไปรษณีย์ไทย รายการเส้นทางเดินรถโดยสารประจำทางในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล รายการสุริยุปราคาที่มองเห็นได้จากประเทศไทย รายการธงประจำจังหวัดของไทย รายการสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 3 รายการอุบัติเหตุทางรถไฟในประเทศไทย รายการประกวดความงาม รายการธงในประเทศไทย รายการทางหลวงแผ่นดินในประเทศไทย/หมวด 2